ปศุสัตว์เขต 9


aniroot967

นายสัตวแพทย์ ดร. อนิรุธ  เนื่องเม็ก
ปศุสัตว์เขต ๙

ช่องทางการติดต่อ

เบอร์มือถือ :: 0800623035
เบอร์สำนักงาน :: 074-324406
E-mail :: rg09_sgk@dld.go.th
page :: https://www.facebook.com/DLDRegion9/ 

กิจกรรมของสำนักงานปศุสัตว์เขต 9

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

ความรู้เผยแพร่ด้านปศุสัตว์

ไอคอนลิงค์

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

ฐานข้อมูลด้านปศุสัตว์ในพื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 9

ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์


person2 

person1

 

กำลังออนไลน์

มี 303 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

สถิติผู้เข้าชม

837437
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
2564
4563
12567
821080
19925
40957
837437

Your IP: 18.117.70.50
2025-04-20 09:04

แบบสอบถาม

แบบสอบถาม >>
ความคิดเห็นของผู้รับบริการต่อการให้บริการของกรมปศุสัตว์
ประจำปีงบประมาณ 2568

แบบสอบถาม
ความคิดเห็น
ของผู้รับบริการ

qrcode2
แบบสอบถาม
ความต้องการของผู้รับบริการ
ใช้ข้อมูลด้านปศุสัตว์

qrcode1

aoi

          ยอดอ้อย เป็นผลพลอยได้จากการปลูกอ้อยเพื่อทำน้ำตาล ในแต่ละปีระหว่างเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม ยอดอ้อยจำนวนไม่น้อยกว่า 10 ตัน ที่ถูกเผาหรือฟันทิ้งหลังฤดูกาลตัด อ้อยมีคุณค่าทางโภชนะใกล้เคียงกับฟางข้าวมีโปรตีนประมาณ 4-6% แต่มีเยื่อใยส่วนที่ใช้ประโยชน์ดีกว่ามีความหวานและน่ากินมากกว่าฟางข้าว ช่วงแล้งขาดแคลนหญ้าสด เป็นระยะที่มียอดอ้อยจำนวนมาก สามารถนำยอดอ้อยสดมาสับให้มีขนาดเล็กลงเพื่อเสริมหญ้าหรือใช้เป็นอาหารหยาบหลักแทนหญ้า และเสริมด้วยอาหารข้นหรือใบพืชตระกูลถั่วต่างๆ เช่นเดียวกับการใช้หญ้าเป็นอาหารหลัก ถ้ามียอดอ้อยปริมาณมากๆ สามารถนำมาหมัก ซึ่งอาจจะใส่หรือไม่ใส่กากน้ำตาลลงไปด้วยก็ได้ โดยมีวิธีหมักเช่นเดียวกับหมักหญ้า และสามารถนำออกมาใช้ในช่วงที่ขาดแคลนอาหารหยาบจะสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนพืชอาหารสัตว์และเป็นการนำผลพลอยได้การเกษตรมาใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี

        ยอดอ้อยสามารถใช้เป็นอาหารโค-กระบือได้ทั้งในลักษณะสด แห้ง และหมัก แต่ต้องใช้ร่วมกับอาหารข้นหรือวัตถุดิบอาหารอื่นๆ เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาให้สูงขึ้น ดังนั้นจึงควรต้องปรับปรุงคุณค่าโภชนะให้ใกล้เคียงหรือเท่ากับหญ้า