ปศุสัตว์เขต 9


aniroot967

นายสัตวแพทย์ ดร. อนิรุธ  เนื่องเม็ก
ปศุสัตว์เขต ๙

กิจกรรมของสำนักงานปศุสัตว์เขต 9

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิดในงาน ของดีนราธิวาส ประจำปี 2562
เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2562 เวลา 9.30 น. สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมร...

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

ความรู้เผยแพร่ด้านปศุสัตว์

ไอคอนลิงค์

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์


person2 

person1

 

กำลังออนไลน์

มี 170 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

สถิติผู้เข้าชม

493316
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
548
757
3617
483292
17758
15863
493316

Your IP: 34.237.75.165
2024-03-29 13:49

Leishmaniasis                 Leishmaniasis เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากเชื้อใน genus  Lieshmania  ซึ่งเป็น protozoa และมีหลาย species โดยมีตัวริ้น (Sandfly ; tabanids ; Phlebotomus spp.) เป็น reservoir  host ของโรค  มนุษย์เราก็เป็น  เป็น reservoir  host ของ Lieshmania บาง species   ริ้นตัวเมียจะกินเลือดเป็นอาหารเมื่อดูดเลือดจากพาหะซึ่งอาจเป็นคนหรือสัตว์  เมื่อเข้าสู่ตัวแมลงเชื้อจะพัฒนาไปเป็นรูปแบบที่สามารถติดจากแมลงไปสู่คนและสัตว์อื่นได้  
                




                 

                            Lieshmaniasis  มักพบแพร่กระจายอยู่แถบตอนกลางและตอนใต้ของทวีปแอฟริกา  อเมริกา เอเชีย และแถบเมดิเตอเรเนียน   อาการที่พบส่วนใหญ่เป็นแบบ cutaneous lieshmaniasis (เป็นแผลหลุมที่ผิวหนัง) มีเพียง L. tropica  เท่านั้นที่ทำให้เกิดโรคในมนุษย์โดยมีแมลงเป็นพาหะ มี  Lieshmania  สัตว์ตัวที่สำคัญที่จะเป็นแหล่งแพร่โรคมายังมนุษย์คือพวกสัตว์ฟันแทะ (rodents) และพวก hyrax (Procavia capensis) ซึ่งมีแหล่งที่อยู่อาศัยแถบตะวันออกกลางและทวีปแอฟริกา สาเหตุที่ติดโรคเนื่องจากมีอาชีพที่ต้องเข้า ป่าซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พวกนี้ ส่วนกรณีที่เกิด visceral lieshmaniasis (เชื้อเข้าสู่อวัยวะภายใน ;Kala azar)ก็เป็นชนิดโรคสัตว์สู่คนเช่นเดียวกันพบได้ในประเทศจีนแถบเมดิเตอเรเนียนและทวีปอเมริกา  โรคนี้มีสัตว์ประเภทสุนัขเป็นแหล่งเพาะโรค
โดยพบโรคนี้อุบัติขึ้นมาหลายร้อยปีแล้ว  พบครั้งแรกในปี 1756 ในผู้ป่วยชาวตุรกี  และเรียกโรคนี้ว่า Aleppo boil เพราะหลังจากหายแล้วจะเกิดแผลเป็นที่น่าเกลียดติดไปตลอดชีพ


Lieshmania
Lieshmania  spp. เป็น protozoa โดยมีหลาย species ที่ทำให้เกิดโรคในคน  เฉพาะ 
L. donovani  เท่านั้นที่ทำให้เกิด  visceral lieshmaniasis (เชื้อเข้าสู่อวัยวะภายใน ; Kala azar)
เชื้อนี้อาจมี 1 หรือหลาย flagella เพื่อช่วยในการเคลื่อนที่เมื่ออยู่ในของเหลวเช่น เลือด หรือในลำไส้ เมื่อสภาพที่อาศัยอยู่เปลี่ยนไปเชื้อก็จะเปลี่ยนรูป โดยเมื่ออยู่ในเนื้อเยื่อมันจะสลัดหางทิ้ง  พวกที่มีหางแบ่งเป็น 2 ประเภท  พวกที่อยู่ในกระแสเลือดหรืออวัยวะภายในเรียกว่า hemaflagellates  พวกที่อยู่ในลำไส้มนุษย์เรียกว่า intestinal flagellates

Pathogenesis
ระยะฟักตัว 3-6 เดือน เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดมันจะเจาะเข้าสู่เซลล์ระบบไหลเวียน (reticulo endothelial system) แบ่งตัวจนได้ 50 -200 ตัว  แล้วจะแพร่กระจายออกจากเซลล์  อาการแบ่งได้เป็น 3 แบบ

  1. Inapparent infection Skin test positive  ตรวจพบภูมิคุ้มโรค แต่ไม่มีอาการ
  2. Kala azar ไข้สูงเฉียบพลัน 104F  2 ช่วงห่างกัน 24 ชั่วโมง รายที่เรื้อรังอาจไม่มีไข้  inguinal และ femoral ln. บวม  ม้ามโต  ผู้ป่วยร้อยละ 10 มีภาวะดีซ่าน
  3. Unusal form of visceral lieshmaniasis  ต่อมทอนซิลอักเสบ cervical ln. บวม  มีการเพิ่มจำนวนของเชื้ออย่างรวดเร็วทำให้เกิดเนื้อตาย ผู้ป่วยจะตายภายใน 4 -6 สัปดาห์
  4. Cutaneous lieshmaniasis  แบ่งเป็น 2 แบบ

- เกิดจากเชื้อ L. tropica  major เกิดแผลหลุมที่ผิวหนัง 1 หรือหลายแห่ง  ระยะฟักตัวสั้น แผลจะหายภายใน 1 ปี
- เกิดจากเชื้อ L. tropica  minor  เกิดแผลหลุมที่ผิวหนังเพียงแห่งเดียว  ระยะฟักตัว
ยาว  เนื้อเยื่อถูกทำลายไม่มาก
การรักษา 
ใช้ Sodium stibogluconate  ซึ่งเป็นเกลือของโลหะพวงจับกันแบบ 5 แขน (pentavalent)
การป้องกัน 
กำจัดแมลงพาหะ  ทายากันยุงที่ผิวหนัง  ใช้ตาข่ายตาถี่  การกำจัดสัตว์ฟันแทะใช้ไม่ได้ผลในบางแห่ง  ต้องแยกผู้ป่วยและกางมุ้ง  ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเพื่อจะได้ไม่ติดเชื้อซ้ำ