ปศุสัตว์เขต 9


aniroot967

นายสัตวแพทย์ ดร. อนิรุธ  เนื่องเม็ก
ปศุสัตว์เขต ๙

ช่องทางการติดต่อ

เบอร์มือถือ :: 0800623035
เบอร์สำนักงาน :: 074-324406
E-mail :: rg09_sgk@dld.go.th
page :: https://www.facebook.com/DLDRegion9/ 

กิจกรรมของสำนักงานปศุสัตว์เขต 9

🌼 ส่วนส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เขต 9 ติดตามความก้าวหน้าโครงการโคบาลชายแดนใต้ จ.สงขลา🌼
วันพฤหัสบดีที่ 18 เมษายน 2567 นายสัตวแพทย์ ดร. อนิรุธ เนื่องเม็ก ปศุสัตว์เขต 9 มอบหมายให้ส่วนส่งเส...
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิดในงาน ของดีนราธิวาส ประจำปี 2562
เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2562 เวลา 9.30 น. สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมร...

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

ความรู้เผยแพร่ด้านปศุสัตว์

ไอคอนลิงค์

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์


person2 

person1

 

กำลังออนไลน์

มี 58 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

สถิติผู้เข้าชม

509832
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
96
1929
3904
501337
15462
18812
509832

Your IP: 3.15.205.14
2024-04-26 02:39

  โรคและความผิดปกติของเป็ดเนื้อ มีหลายคำถามจากผู้เลี้ยงเป็ดเนื้อถึงอาการผิดปกติหลายอย่างในเป็ดเนื้อ โดยเฉพาะเมื่อเลี้ยงเป็ดเนื้อลักษณะฝูง อาการผิดปกติที่พบเห็นบ่อย ได้แก่

              1. อาการขาอ่อน ยืนทรงตัวไม่ได้ มักพบในช่วง 2-3 สัปดาห์แรก ส่วนใหญ่เป็นในพันธุ์เป็ดที่มีอัตราการแลกเนื้อสูงจะเจริญเติบโตเร็ว แต่จะมีอาการขาอ่อนนั่งบนข้อขา หรือเมื่อเป็ดพยายามลุกเดินจะหงายท้องเท้าตะกุยอากาศ อาจได้รับเชื้อโรคอื่นเข้าแทรก เช่น Duck plague หรือ New duck Ayndrome การแก้ไขควรมีการจัดการเรื่องอาหารและปริมาณสารอาหารให้เหมาะสม รวมทั้งการกกลูกเป็ดให้ทั่วถึง ซึ่งเป็นปัจจัยเกี่ยวข้องกับภาวะอาการด้วย
              2. ตาอักเสบ อาการที่พบคือ เยื่อตาขาวจะมีอาการแดง หรือมีสีชมพูจัด น้ำตาไหล ตาเปียกแฉะตลอดเวลา เป็ดมักจาม หรือมีน้ำมูกไหลด้วย สาเหตุมักเกิดจากโรงเรือนชื้นแฉะ ปริมาณแอมโมเนียในโรงเรือนมีสูงก่อให้เกิดการระคายเคือง ควรเปลี่ยนที่ปูนอน หรือเลี้ยงจำนวนเป็ดให้เหมาะสมกับโรงเรือน